ด้วยความกดดันต่างๆ ทั้งทางครอบครัว และความคาดหวังของทางสังคม ทำให้หลายๆ คนเกิดภาวะกดดันตัวเอง จนพยายามให้ตัวเองไร้ข้อผิดพลาด เพื่อนำไปสู่ความเป็น เพอร์เฟกต์ชันนิสต์ หรือคนที่มีความสมบูรณ์แบบ อย่างไร้ข้อผิดพลาด
การที่เป็นคนที่สมบูรณ์แบบหรือ เพอร์เฟกต์ชันนิสต์ นั้น มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งแน่นอนว่า บนโลกใบนี้ไม่มีใครเพอร์เฟกต์ร้อยเปอร์เซ็น อย่างคำกล่าวที่ว่า “No body perfect” ด้วยแรงกดดันที่ได้รับมาสะสมนานวันเข้า มันหล่อหลอมจิตใต้สำนึกของบุคคลนั้นไปเรื่อยๆ จนเกิดความกลัว กลัวว่าตัวเองจะไม่ดีพอ กลัวว่าตัวเองจะไม่เพอร์เฟกต์ กลัวตัวเองจะมีข้อผิดพลาดทำให้โดนด้อยค่า และอาการกลัวเหล่านี้ เราเรียกกันว่า อะเทโลโฟเบีย (Atelophobia)
อะเทโลโฟเบีย มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก โดยมาจากคำว่า Atelo ที่แปลว่าความไม่สมบูรณ์แบบ และคำว่า Phobia ที่แปลว่าความกลัว เมื่อนำมารวมกัน ก็กลายเป็นคำว่า อาการกลัวความไม่สมบูรณ์แบบนั่นเอง
สุดท้าย ในปี 2015 มีการค้นพบว่าความกังวลเรื่องความสมบูรณ์แบบ มีความเกี่ยวโยงกับ ความกลัวและความสงสัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพส่วนบุคคล ซึ่งสามารถนำไปสู่อาการเบิร์นเอ้าท์ หรือหมดไฟในที่ทำงานด้วย
มาพูดถึงความเป็นเพอร์เฟกต์ชันนิสต์กันก่อน ว่ามันคืออะไร
เพอร์เฟกต์ชันนิสต์ คือ พฤติกรรมของคนที่รักความสมบูรณ์แล้ว มีความสุขที่เห็นผลงานหรือการกระทำของตัวเอง ออกมาได้อย่างไร้ที่ติ โดยพฤติกรรมนี้ เป็นพฤติกรรมที่สามารถบ่มเพาะมาตั้งแต่เด็ก จากความคาดหวังและความกดดันจากบุคคลใกล้ตัวการที่เป็นคนที่สมบูรณ์แบบหรือ เพอร์เฟกต์ชันนิสต์ นั้น มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งแน่นอนว่า บนโลกใบนี้ไม่มีใครเพอร์เฟกต์ร้อยเปอร์เซ็น อย่างคำกล่าวที่ว่า “No body perfect” ด้วยแรงกดดันที่ได้รับมาสะสมนานวันเข้า มันหล่อหลอมจิตใต้สำนึกของบุคคลนั้นไปเรื่อยๆ จนเกิดความกลัว กลัวว่าตัวเองจะไม่ดีพอ กลัวว่าตัวเองจะไม่เพอร์เฟกต์ กลัวตัวเองจะมีข้อผิดพลาดทำให้โดนด้อยค่า และอาการกลัวเหล่านี้ เราเรียกกันว่า อะเทโลโฟเบีย (Atelophobia)
อะเทโลโฟเบีย (Atelophobia) คืออะไร...
อะเทโลโฟเบีย เป็นโรคชนิดหนึ่ง เป็นอาการโฟเบียในกลุ่มโรคกลัวเฉพาะ แตกต่างจาก อติชิโฟเบีย (atychiphobia) ที่เป็นโรคกลัวความล้มเหลวอะเทโลโฟเบีย มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก โดยมาจากคำว่า Atelo ที่แปลว่าความไม่สมบูรณ์แบบ และคำว่า Phobia ที่แปลว่าความกลัว เมื่อนำมารวมกัน ก็กลายเป็นคำว่า อาการกลัวความไม่สมบูรณ์แบบนั่นเอง
แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าตัวเองกำลังเผชิญหน้ากับ อะเทโลโฟเบีย อยู่หรือไม่...
ความรู้สึกเบื้องต้นของ อะเทโลโฟเบีย มีคร่าวๆ เพียงแค่ 3 ข้อเท่านั้น ประกอบด้วย- มีความรู้สึกกลัวความผิดพลาด
- หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่จะก่อให้เกิดความผิดพลาด
- มาตรฐานที่มีสูงเกินไป
- มีการหายใจที่ถี่รัว
- มีความตึงเครียดบริเวณกล้ามเนื้อ
- ปวดศีรษะ
- ปวดท้อง
- นอนไม่หลับ
- พฤติกรรมการกินที่ผิดแปลกไป
สุดท้าย ในปี 2015 มีการค้นพบว่าความกังวลเรื่องความสมบูรณ์แบบ มีความเกี่ยวโยงกับ ความกลัวและความสงสัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพส่วนบุคคล ซึ่งสามารถนำไปสู่อาการเบิร์นเอ้าท์ หรือหมดไฟในที่ทำงานด้วย