ช่วงเวลาที่เรากำลังผ่อนคลายและลิ้มรสสับปะรดแสนอร่อย แน่นอนว่าเมื่อกินไปเรื่อยๆ ความผ่อนคลายของเราอาจจบลง เพราะเอนไซม์ที่ทรงพลังในสับปะรดทำให้เนื้อนุ่มก็จริง แต่เนื้อที่ว่ามันก็คือเนื้อของเราด้วยนั่นเอง
สำหรับบางคน เอนไซม์ที่ทรงพลังของสับปะรดจะทำให้รู้สึกเสียวซ่าหรือแสบร้อนเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม สำหรับคนนที่โชคร้ายบางคน เจอบทลงโทษจากสับปะรดที่รุนแรงกว่านั้น เพราะมันทำให้ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้มมีเลือดออก
จากข้อมูลของ National Center for Complementary and Integrative Health พบว่า โบรมีเลนได้รับการศึกษาเพื่อรักษาแผลไฟไหม้ ‘การวิจัยเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่าโบรมีเลนช่วยกำจัดผิวหนังที่ตายแล้วและเสียหายจากการเผาไหม้ในเด็กและผู้ใหญ่’ อย่างไรก็ตามการรักษาด้วยโบรมีเลนจะดีกว่าการรักษามาตรฐานในระยะยาวหรือไม่นั้นยังคงต้องได้รับการตรวจสอบ
แนวคิดคือ ‘สามารถปรับปรุงการรักษาแผลไหม้แบบหนาทั้งหมด’ ผ่านสิ่งที่เรียกว่า โบรมีเลน ซึ่งประกอบด้วยโปรตีนซิสเทอีน ซึ่งสามารถสลายโปรตีนใดๆ ก็ตามที่ใดก็ตามที่มีกรดอะมิโนซิสเทอีนในโมเลกุลสายยาว ดังนั้นเอนไซม์จึงสามารถทำงานได้กับเนื้อเยื่อของมนุษย์
การตัดสับปะรดจากลำต้นที่มีโบรมีเลนเข้มข้นที่สุดสามารถลดความเสี่ยงของอาการได้ เช่นเดียวกับการเลือกสับปะรดกระป๋องแทนผลสด หากคุณต้องการประสบการณ์สับปะรดที่ปราศจากความเสี่ยง การทำอาหาร ที่ใช้สับปะรดเป็นส่วนประกอบสามารถทำลายเอนไซม์ในนั้นได้
เคยสังเกตมั้ยว่าทำไมเวลากินสับปะรดมากๆ ปากถึงมีเลือดออก?
สิ่งที่ทำให้เนื้อนุ่มที่เรากล่าวไปข้างต้นนั้น เป็นเอนไซม์ที่เรียกว่า ‘โบรมีเลน’ ใช้เพื่อทำให้บาดแผลที่แข็งนิ่มลงเพราะสามารถทำลายโปรตีน ซึ่งรวมถึงโปรตีนที่พบในปากของเราด้วยสำหรับบางคน เอนไซม์ที่ทรงพลังของสับปะรดจะทำให้รู้สึกเสียวซ่าหรือแสบร้อนเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม สำหรับคนนที่โชคร้ายบางคน เจอบทลงโทษจากสับปะรดที่รุนแรงกว่านั้น เพราะมันทำให้ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้มมีเลือดออก
โบรมีเลนคืออะไร?
โบรมีเลน (Bromelain) เป็นกลุ่มของเอนไซม์ย่อยโปรตีนที่สามารถแยกโปรตีนออกจากกัน พบในผลและลำต้นของต้นสับปะรด (Ananas comosus)จากข้อมูลของ National Center for Complementary and Integrative Health พบว่า โบรมีเลนได้รับการศึกษาเพื่อรักษาแผลไฟไหม้ ‘การวิจัยเบื้องต้นแสดงให้เห็นว่าโบรมีเลนช่วยกำจัดผิวหนังที่ตายแล้วและเสียหายจากการเผาไหม้ในเด็กและผู้ใหญ่’ อย่างไรก็ตามการรักษาด้วยโบรมีเลนจะดีกว่าการรักษามาตรฐานในระยะยาวหรือไม่นั้นยังคงต้องได้รับการตรวจสอบ
แนวคิดคือ ‘สามารถปรับปรุงการรักษาแผลไหม้แบบหนาทั้งหมด’ ผ่านสิ่งที่เรียกว่า โบรมีเลน ซึ่งประกอบด้วยโปรตีนซิสเทอีน ซึ่งสามารถสลายโปรตีนใดๆ ก็ตามที่ใดก็ตามที่มีกรดอะมิโนซิสเทอีนในโมเลกุลสายยาว ดังนั้นเอนไซม์จึงสามารถทำงานได้กับเนื้อเยื่อของมนุษย์
สับปะรดกินได้อย่างปลอดภัยหรือไม่?
สับปะรดรับประทานได้อย่างปลอดภัย (ตราบใดที่คุณไม่แพ้ ซึ่งพบได้ยาก) แต่สำหรับบางคนอาจมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ แม้ว่าโบรมีเลนจะมีประโยชน์ในการสลายเนื้อเยื่อแผลเป็น แต่ก็ไม่ได้เลือกปฏิบัติและจะทำงานอย่างมีความสุขกับเซลล์บางส่วนในปากของเราการตัดสับปะรดจากลำต้นที่มีโบรมีเลนเข้มข้นที่สุดสามารถลดความเสี่ยงของอาการได้ เช่นเดียวกับการเลือกสับปะรดกระป๋องแทนผลสด หากคุณต้องการประสบการณ์สับปะรดที่ปราศจากความเสี่ยง การทำอาหาร ที่ใช้สับปะรดเป็นส่วนประกอบสามารถทำลายเอนไซม์ในนั้นได้